|
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติ ประเสริฐสุข ผู้อำนวยการสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
Asst.Prof. Kitti Prasirtsuk,Ph.D.
Director
of Institute of East Asian Studies
Address สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต Institute of East Asian Studies, Thammasat
University,Rangsit Campus
Pathumthani 12121,Thailand
Tel.66-2564-5000-3 Ext.404 Fax. 66-2564-4888 E-mail : kitt@tu.ac.th
|
|
การศึกษา | - 2544 ปริญญาเอก University of
California, Berkeley
- 2541 ปริญญาโท University of
California, Berkeley
- 2537 ปริญญาโท Keio University,
Japan
- 2533 ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(เกียรตินิยม)
|
ตำแหน่งอื่นๆ | - Visiting Professor, Department of Political Science,
University of California, Berkeley, Fall 2005 (teaching International
Relations in Southeast Asia).
- กรรมการ, โครงการศึกษานานาชาติ, คณะรัฐศาสตร์, ม.ธรรมศาสตร์
- กรรมการ, โครงการญี่ปุ่นศึกษา, สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ม.ธรรมศาสตร์
- ผู้ประกาศข่าว, NHK Radio Japan, 2534-2537 (พาร์ทไทม์).
- ออกรายการและให้สัมภาษณ์สื่อ เช่น CCTV Beijing, ABC Australia
(Canberra), Nikkei and Mainichi Newspaper (Japan)
| ประวัติการทำงาน | - รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และกิจการพิเศษ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
- 2548 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ
คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
- ส.ค. - ธ.ค. 2548 ผู้ช่วยศาสตราจารยรับเชิญคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์
เนียเบิร์กเลย์ สอนวิชา
"ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้"
- พ.ค. 2538 - 2548 อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาญี่ปุ่น
คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
- เม.ย.2537 - เม.ย. 2538 Marketing
& Coordination Dept., บริษัทมิตซูบิชิ (ประเทศไทย)
จำกัด
- พ.ย. 2534 - มี.ค. 2537 ผู้ประกาศและผู้แปล,
NHK Radio Japan (part-time), กรุงโตเกียว
- เม.ย.2533 - มี.ค. 2534 ผู้ช่วยผู้เชี่ยวชาญประจำศูนย์บริการ
บริษัทกันยงวัฒนา จำกัด
- เม.ย. - พ.ค. 2531 นักศึกษาฝึกงาน, โครงการ Seiyu Supermarke,บริษัทเจริญโภคภัณฑ์
|
การรับเชิญ | - Japan-ASEAN Young Leaders Workshop, Center for
Strategic and International Studies (CSIS), Jakarta, 16-17 February
2005.
- Freeman Symposium Fellow, East Asia -The United
States : Searching for Common Values, Salzburg, 1-6 June 2004
(Chairperson on Panel: Perceptions and Misperceptions:Across the Pacific
and Within Asia ).
- Salzburg Seminar Fellow, Session # 415: Changing
Concepts of Security in East Asia , 3-10 December 2003 (funded by
Freeman Foundation).
- The 2003 Global Youth Leadership Program, Ministry of
Foreign Affairs, Japan, 20-31 January 2003.
- Visiting Research Fellow, Institute of Social
Science, University of Tokyo, 2000-01 (Japan Foundation Dissertation
Fellowship).
| ทุนที่ได้รับ | - The Japan Foundation Dissertation Fellowship, May
2000-July 2001(for dissertation research in Japan )
- Harvard-Yenching Fellowship, Aug. 96 - Jan. 2000 (for
Ph.D. course work at UC, Berkeley)
- The Japanese Government Scholarship, Apr. 91 - Mar.
94 (for M.A. at Keio University )
- The Japanese Government Scholarship,Oct. 88- Sep.
89 (for non-degree study at Tohoku University )
|
ตำแหน่งหน้าที่อื่นๆ | - ที่ปรึกษา
การประชุมเตรียมการเจรจาข้อตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (JTEP:
Japan-Thailand Economic Partnership), กระทรวงการต่างประเทศ, พฤษภาคม
2546 - 2548 กรรมการ
- โครงการญี่ปุ่นศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ม.ธรรมศาสตร์, ตุลาคม
2544 -ปัจจุบัน. กรรมการ
- โครงการปริญญาตรีอังกฤษ-อเมริกันศ
- "ญี่ปุ่นกับประชาคมเอเชียตะวันออก
ผลประโยชน์ ความเป็นไปได้ และผลกระทบต่อประเทศไทย", สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2548-2549
- การเจรจาการค้ากับการเปิดตลาดของญี่ปุ่น
: นัยยะสำหรับประเทศไทย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2547-48.
- การลงทุนกับการเปิดเสรีภาคบริการ
ในการเจรจา JTEPA , วิจัยร่วมกับดร.สมเกียรติ
ตั้งกิจวาณิชย์, TDRI, สนับสนุนโดยกระทรวงการต่างประเทศ,
2547-48. (JTEPA = Japan-Thailand Economic Partnership Agreement).
- โครงการปริญญาตรีอังกฤษ-อเมริกันศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์, มิถุนายน 2547 -ปัจจุบัน.
| การสอน | - การเมืองญี่ปุ่น
- ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออก
- สัมมนาความร่วมมือในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
- มหาอำนาจกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
- ธุรกิจการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ญี่ปุ่นปัจจุบัน
- วัฒนธรรมป็อบของญี่ปุ่น
- การอ่านภาษาญี่ปุ่นชั้นสูงทางสังคมศาสตร์
- Discourse and Analysis in International Relations
- ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กเลย์)
| งานวิจัย | - "ญี่ปุ่นกับประชาคมเอเชียตะวันออก
ผลประโยชน์ ความเป็นไปได้ และผลกระทบต่อประเทศไทย", สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2548-2549
- การเจรจาการค้ากับการเปิดตลาดของญี่ปุ่น
: นัยยะสำหรับประเทศไทย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2547-48.
- การลงทุนกับการเปิดเสรีภาคบริการ
ในการเจรจา JTEPA , วิจัยร่วมกับดร.สมเกียรติ
ตั้งกิจวาณิชย์, TDRI, สนับสนุนโดยกระทรวงการต่างประเทศ,
2547-48. (JTEPA = Japan-Thailand Economic Partnership Agreement).
| บทความวิชาการ | - การเจรจาการค้าของญี่ปุ่น :
จากการแก้ไขข้อพิพาทสู่ FTA (กรุงเทพฯ : Japan Watch Project, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.), 2549.
- รายงานวิจัย โครงการศึกษาการลงทุนและการเปิดเสรีภาคบริการในการเจรจา
JTEPA (ร่วมกับ ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์
และดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์), มูลนิธิเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,
เสนอต่อ สำนักงานเจรจาเขตการค้าเสรีไทย-ญี่ปุ่น, พฤษภาคม 2548.
- การเปิดเสรีทางการค้าของญี่ปุ่นกับหุ้นส่วนเศรษฐกิจญี่ปุ่น-ไทย,
ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่นในศตวรรษใหม่, เอกสารหลังการอภิปรายวิชาการ,
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23 สิงหาคม
2547.
- การเปิดเสรีภาคการเงินของญี่ปุ่น
กรณีธุรกิจประกันภัยและกองทุนเพื่อการลงทุน, ญี่ปุ่นศึกษา
2/2547, หน้า 97-118.
- ทำไมญี่ปุ่นลังเลที่จะเปิดตลาดสินค้าเกษตร,
ญี่ปุ่นศึกษา 1/2546-47, หน้า 29-56.
- การสิ้นสุดลงของสงครามเย็นกับการเจรจาการค้าญี่ปุ่น-สหรัฐ,
วารสารสังคมศาสตร์, 34 : 1, ม.ค.-มิ.ย. 2546,
หน้า 121-153.
- การปฏิรูปเศรษฐกิจในญี่ปุ่น:
ภาพรวมของการผ่อนคลายกฎระเบียบ, ญี่ปุ่นศึกษา, ฉบับ 2/2546 หน้า 65-94.
- ความเสื่อมถอยของระบบหลังสงครามกับการตกต่ำอันยาวนานของเศรษฐกิจญี่ปุ่น,
ญี่ปุ่นศึกษา 1/2545-46 หน้า 191-221
| ประชุมสัมมนา | - การเจรจาการค้าของญี่ปุ่น :
จากการแก้ไขข้อพิพาทสู่ FTA (กรุงเทพฯ : Japan Watch Project, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.), 2549.
- รายงานวิจัย โครงการศึกษาการลงทุนและการเปิดเสรีภาคบริการในการเจรจา
JTEPA (ร่วมกับ ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์
และดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์), มูลนิธิเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,
เสนอต่อ สำนักงานเจรจาเขตการค้าเสรีไทย-ญี่ปุ่น, พฤษภาคม 2548.
- การเปิดเสรีทางการค้าของญี่ปุ่นกับหุ้นส่วนเศรษฐกิจญี่ปุ่น-ไทย,
ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่นในศตวรรษใหม่, เอกสารหลังการอภิปรายวิชาการ,
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23 สิงหาคม
2547.
- การเปิดเสรีภาคการเงินของญี่ปุ่น
กรณีธุรกิจประกันภัยและกองทุนเพื่อการลงทุน, ญี่ปุ่นศึกษา
2/2547, หน้า 97-118.
- ทำไมญี่ปุ่นลังเลที่จะเปิดตลาดสินค้าเกษตร,
ญี่ปุ่นศึกษา 1/2546-47, หน้า 29-56.
- การสิ้นสุดลงของสงครามเย็นกับการเจรจาการค้าญี่ปุ่น-สหรัฐ,
วารสารสังคมศาสตร์, 34 : 1, ม.ค.-มิ.ย. 2546,
หน้า 121-153.
- การปฏิรูปเศรษฐกิจในญี่ปุ่น:
ภาพรวมของการผ่อนคลายกฎระเบียบ, ญี่ปุ่นศึกษา, ฉบับ 2/2546 หน้า 65-94.
- ความเสื่อมถอยของระบบหลังสงครามกับการตกต่ำอันยาวนานของเศรษฐกิจญี่ปุ่น,
ญี่ปุ่นศึกษา 1/2545-46 หน้า 191-221
| สิ่งพิมพ์(ภาษาอังกฤษ) | - "ญี่ปุ่นกับประชาคมเอเชียตะวันออก
ผลประโยชน์ ความเป็นไปได้ และผลกระทบต่อประเทศไทย", สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2548-2549
- การเจรจาการค้ากับการเปิดตลาดของญี่ปุ่น
: นัยยะสำหรับประเทศไทย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2547-48.
- การลงทุนกับการเปิดเสรีภาคบริการ
ในการเจรจา JTEPA , วิจัยร่วมกับดร.สมเกียรติ
ตั้งกิจวาณิชย์, TDRI, สนับสนุนโดยกระทรวงการต่างประเทศ,
2547-48. (JTEPA = Japan-Thailand Economic Partnership Agreement).
|
|
|
|